วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ประมุขของประเทศในระบอบประชาธิปไตย

ประมุขของประเทศในระบอบประชาธิปไตย

ประมุขของประเทศในระบอบประชาธิปไตย

 มีรูปแบบสำคัญ 2 แบบ คือ

1) พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและประธานาธิบดีเป้นประมุข
2) ประมุขจะใช้ใช้อำนาจตามที่รัฐกำหนดไว้
...โดยประเทศที่มีพระมหากษัตริยืทรงเป็นประมุข พระองคืจะทรงใช้อำนาจไตยผ่านสถาบันการปกครอง ได้แก่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล โดยที่นายรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลหรือฝ่ายบริหาร เช่น สหราชอาณาจักรไทย ไทย นอร์เวย์ สวีเดน เป็นต้น
การใช้อำนาจประชาธิปไตย
การปกครองระบอบการปกครอง ทรงเป็นประมุข พระมหากษัตริย์มิได้เป็นหัวหน้ารัฐบาล
1) การใช้อำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา รัฐสภามีโครงสร้าง 2 แบบ คือ
(1.1) อำนาจที่ของรัฐสภา
(1.2) อำนาจหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎร์และวุฒิสภา
2) การใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี
(2.1) อำนาจหน้าที่ของคณะรัฐมนตรีในการบริหารประเทศ
(2.2) อำนาจหน้าที่ของคณะรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดิน
3) การใช้อำนาจตุลาการทางศาล
(3.1) ศาลรัฐธรรมนูญ
(3.2) ศาลยุตติธรรม
(3.3) ศาลปกครอง
(3.4) ศาลทหาร

วันอังคารที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

รูปแบบของรัฐ

รูปแบบของรัฐมี 2 แบบ คือ
   1) รูปแบบของรัฐเดี่ยว (Unitary State or Single State) หมายถึง รัฐที่มีรัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียวใช้อำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทั้งหมด อาจมีการกระจายอำนาจในท้องถิ่นได้บริหารกิจการของท้องถิ่นได้ตามรัฐบาลอย่าง เห็นสมควร ประเทสที่มีรูปแบของรัฐเดี่ยว เช่น ราชอาณาจักรสเปน ญี่ปุ่น สาธ ารณรัฐสิงค์โปร์ ราชอาณาจักรไทย เป้นต้น
   2) สหพันธรัฐหรือรัฐรวม (federal State or dual State) หมายถึง รัฐที่มีรัฐบาลสองระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละมลรัฐ รัฐบาลแต่ละระดับจะใช้อำนาจอธิปไตยปกครองตามรัธรรมนูญได้กำหนดไว้ โดยทั่วไปรัฐบาลกลางของสหพันธรัฐมักจะเป็นผู้ใช้อำนาจในกิจการที่เกี่ยวข้อง หรือกระทบกระเทือนต่อประโยชน์ส่วนรวมของชาติ เช่น การทหาร การต่างประเทศ การคลัง เป็นต้น